พิจารณาสมบัติการคูณเลขยกกำลังต่อไปนี้
1) เมื่อ a แทนจำนวนใด ๆ m และ n แทนจำนวนเต็มบวก จะได้ว่า am × an = am+n
พิจารณาการคูณเลขยกกำลังที่มีฐานจำนวนเดียวกันต่อไปนี้
1) 72×73
72×73 = (7×7)(7×7×7)
= 75
ดังนั้น 72×73 = 72+3
= 75
2)
132×169
132×169 =
(13×13)(13×13)
= 134
ดังนั้น 132×169 = 134
3) (2.5)7×(-2.5)2
(2.5)7×(-2.5)2 = (2.5)7×(2.5)2
= (2.5)7+2
= (2.5)9
ดังนั้น (2.5)7×(-2.5)2 =
(2.5)9
***สรุปสั้นได้ว่า
เลขยกกลังที่มีฐานเหมือนกันให้เอาเลขชี้กำลังบวกกัน***
2)เมื่อ a แทนจำนวนใด
ๆ m และ n แทนจำนวนเต็มบวก
จะได้ว่า (am)n = am×n
การคูณเลขยกกำลังที่มีกำลังซ้อนกัน
พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้
1) (92)5
วิธีทำ (92)5 = 92×5
= 910
ดังนั้น (92)5 = 910
2) (36)3
วิธีทำ
(36)3 = 36×3
=
318
ดังนั้น (36)3 = 318
***สรุปสั้นได้ว่า
เลขยกกลังที่มีเลขชี้กำลังซ้อนกันอยู่ให้เอาเลขชี้กำลังคูณกัน***
3)ถ้า a และ
b แทนจำนวนใด ๆ m เป็นจำนวนเต็มบวกแล้ว (a×b)m = am×bm
พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้
1)(9×2)5 =
95×25
2)(3×7)2 =
32×72
3)(8×5)7 =
87×57
***สรุปได้ว่า
จำนวนเต็มที่คูณกันในวงเล็บและมีเลขชี้กำลังอยู่นอกวงเล็บให้นำเลขชี้กำลังคูณเข้าไปในวงเล็บ***
ที่มา
www.mrcud2.com
การคูณเลขยกกำลังที่มีกำลังซ้อนกัน การคูการคูณเลขยกกำลังที่มีกำลังซ้อนกันณเลขยกกำลังที่มีกำลังซ้อนกัน
พิจารณาการคูณเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดียวกันต่อไปนี้
พิจารณาการคูณเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดียวกันต่อไปนี้
ขอบคุณสำหรับเทคนิคดีๆนะคะ
ตอบลบเนื้อหาดีมากค่ะ
ตอบลบเนื้อหาเข้าใจง่ายมาก ค่ะ
ตอบลบสุดยอดมากเลยค่ะขอบคุณเทคนิคดีดีค่ะ
ตอบลบ